tips-health

#24gel #gelplus #healthyfood #healthyeating #healthy #food #howto #drink #สุขภาพดี #ผู้สูงอายุ #อาหารเสริม #dessert

tips-health

4 เครื่องดื่มที่คนเป็นโรคไตดื่มได้

4 เครื่องดื่มที่คนเป็นโรคไตดื่มได้ น้ำขิง มีสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดความดันโลหิต และไขมันในเลือด คำแนะนำ: ดื่มครั้งละครึ่งแก้ว โดยเฉพาะในระยะฟอกไตควรจำกัดปริมาณ น้ำเต้าหู้หรือนมถั่วเหลือง ฟอสฟอรัสต่ำกว่านมวัว 4 เท่า และโปรตีนต่ำกว่า 2 เท่า คำแนะนำ: ทำแบบสดเอง ไม่เติมน้ำตาลหรือเครื่องเคียง ดื่มครั้งละครึ่งแก้ว […]

tips-health

กินยาเบาหวาน ทำให้ไตวาย จริงหรือ?

กินยาเบาหวานทำให้ไตวาย จริงหรือ? คำตอบ: ไม่จริง การรับประทานยาเบาหวานไม่ใช่สาเหตุของการเกิดโรคไตวาย สาเหตุของไตวายในผู้ป่วยเบาหวาน เกิดจาก โรคเบาหวานเอง ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ไม่ดี ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงนานเกินไป ทำให้หลอดเลือดในไตเสียหาย ส่งผลให้เกิด โรคไตจากเบาหวาน (Diabetic Nephropathy) ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของไตวายในผู้ป่วยเบาหวาน ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับยาเบาหวาน หยุดยาเองเพราะกลัวไตวาย ส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นอย่างควบคุมไม่ได้ เกิดอาการแทรกซ้อน

tips-health

วิธีป้องกัน ก่อนเกิดภาวะแทรกซ้อน โรคเบาหวาน

วิธีป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น ควรปฏิบัติตามคำแนะนำดังนี้: 1. ตรวจสุขภาพประจำปีอย่างสม่ำเสมอ 1.1 ตรวจตา (เบาหวานขึ้นตา) แนะนำ: ตรวจตากับจักษุแพทย์อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง เพื่อตรวจหาสัญญาณเริ่มต้นของ เบาหวานขึ้นจอประสาทตา 1.2 ตรวจไต (เบาหวานลงไต) แนะนำ: ตรวจปัสสาวะเพื่อประเมินโปรตีนรั่วในไต

tips-health

ปัสสาวะบ่อยเกิดจากอะไร อันตรายไหม?

ความถี่ในการปัสสาวะที่ปกติ ใน 1 วัน คนทั่วไปจะปัสสาวะไม่เกิน 8 ครั้ง สาเหตุของการปัสสาวะบ่อย 1. ปัสสาวะบ่อยจากปริมาณน้ำปัสสาวะมากกว่าปกติ การดื่มน้ำมากเกินไป โรคประจำตัว เช่น โรคเบาจืด โรคเบาหวาน โรคไตเรื้อรัง ผลข้างเคียงจากยา เช่น ยาขับปัสสาวะ ยารักษาโรคเบาหวานบางประเภท

tips-health

โรคหมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม ทับเส้นประสาท

โรคหมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม ทับเส้นประสาท อาการที่พบบ่อย ปวดหลังร้าวลงขา หรือปวดคอร้าวลงแขน อาการ ชา และ อ่อนแรง การลุก นั่ง หรือเดินลำบาก วิธีการปรับพฤติกรรมเพื่อบรรเทาอาการ นั่งหลังตรง และพักยืดเหยียดเป็นระยะ หลีกเลี่ยงการ นั่งในท่าเดิมนานๆ ไม่ยกของหนัก หรือทำท่าก้มเงยบ่อยๆ ระมัดระวังการเกิด

tips-health

โรคสะเก็ดเงิน แม้จะรักษาไม่หายขาด แต่สามารถควบคุมอาการได้

โรคสะเก็ดเงิน โรคผิวหนังอักเสบเรื้อรัง ที่เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน แม้จะรักษาไม่หายขาด แต่สามารถควบคุมอาการได้ หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ งดดื่มแอลกอฮอล์และการสูบบุหรี่ พักผ่อนให้เพียงพอ ลดความเครียด อาการทั่วไปของโรคสะเก็ดเงิน ปวดแสบปวดร้อน บริเวณผิวหนัง ผิวแดงและเป็นรอยขุยสีขาว ผิวแห้งจนแตกและอาจมีเลือดออก เล็บผิดรูป หนาและเปราะ

tips-health

ยาล้างไต!? กินแล้วไม่ต้องฟอกเลือด ฟอกไต ช่วยขับสารพิษ ล้างไตจริงหรือ?

ยาล้างไต: ที่บางคนเชื่อว่ากินแล้วช่วยล้างสารพิษในไต หรือไม่ต้องฟอกไตนั้น ไม่เป็นความจริง โดยทั่วไปยาเหล่านี้คือ ยาฟีนาโซไพริดีน ซึ่งมีคุณสมบัติ: ใช้สำหรับ บรรเทาอาการอักเสบของทางเดินปัสสาวะ กระตุ้นการขับปัสสาวะ ลักษณะสำคัญของยา: มักเติมสารให้สี เช่น เมทิลีนบลู ทำให้ปัสสาวะมีสีเขียวหรือน้ำเงิน ไม่ได้ช่วยล้างสารพิษในไต หรือทำให้ไตกลับมาทำงานปกติ ข้อควรระวัง: ห้ามใช้ในผู้ป่วยไตบกพร่องรุนแรง: อาจทำให้ไตแย่ลง

tips-health

ผลไม้ น้ำตาลสูง ที่โรคเบาหวานต้องระวัง

1. กลุ่มผลไม้ลูกใหญ่: ขนุน ทุเรียนแนะนำให้รับประทานในปริมาณน้อย ๆ เพราะมีน้ำตาลสูง 2. กลุ่มผลไม้เป็นพวงหรือเป็นลูกเล็ก: ลำไย ลิ้นจี่กลุ่มนี้มีน้ำตาลค่อนข้างสูง ควรหลีกเลี่ยงหรือจำกัดปริมาณ 3. กลุ่มผลไม้ลูกเล็ก แต่หวานจัด: มะม่วงสุก น้อยหน่าสามารถสัมผัสรสหวานได้ชัดเจน ควรหลีกเลี่ยงหรือรับประทานน้อยมาก 4. กลุ่มผลไม้ลูกยาว: มะขามหวาน

tips-health

ขนมหวาน กับคนที่เป็นโรคไต ทานได้

  ขนมหวานที่คนเป็นโรคไตสามารถทานได้ (ในปริมาณที่เหมาะสม) ขนมชั้น ทานได้ 1-2 ชิ้นเล็กๆ หลีกเลี่ยงการทานในปริมาณมาก เนื่องจากมีส่วนผสมของน้ำตาล เฉาก๊วย ทานได้ 1 ถ้วยเล็กๆ แนะนำให้เน้นทาน เฉพาะเนื้อเฉาก๊วย เนื่องจากน้ำเชื่อมมีปริมาณน้ำตาลสูง ซาหริ่ม ทานได้ 1 ถ้วยเล็กๆ

Shopping Cart