tips-health

#24gel #gelplus #healthyfood #healthyeating #healthy #food #howto #drink #สุขภาพดี #ผู้สูงอายุ #อาหารเสริม #dessert

tips-health

โรคงูสวัดเกิดจากอะไร?

โรคงูสวัด (Shingles) สาเหตุ โรคงูสวัดเกิดจากการติดเชื้อไวรัส วาริเซลลา ซอสเตอร์ (Varicella Zoster Virus) ซึ่งเป็นไวรัสชนิดเดียวกับที่ทำให้เกิด โรคอีสุกอีใส เชื้อไวรัสจะซ่อนตัวในปมประสาทหลังจากเป็นอีสุกอีใสแล้ว และอาจกลับมาทำให้เกิดงูสวัดเมื่อภูมิคุ้มกันลดลง ปัจจัยเสี่ยง ภูมิคุ้มกันต่ำ เช่น ผู้สูงอายุ, ผู้ป่วยมะเร็ง, ผู้ติดเชื้อ HIV […]

tips-health

โซดามินต์รักษา โรคไตหรือโรคเก๊าท์ได้หรือไม่!?

โซดามินต์ (Sodamint) กับการดูแลสุขภาพ ประโยชน์ของโซดามินต์ เป็นชื่อทางการค้าของ โซเดียมไบคาร์บอเนต ช่วยปรับสมดุลกรด-ด่างในเลือด เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มี ภาวะเลือดเป็นกรด โดยเฉพาะในผู้ป่วย โรคไตเรื้อรัง การใช้โซดามินต์ในโรคเก๊าท์ อาจช่วยลดความเสี่ยงของการเกิด นิ่วยูริก ในปัสสาวะโดยการปรับค่า pH ให้เป็นด่าง แต่หากปัสสาวะด่างเกินไป อาจเพิ่มความเสี่ยงของการเกิด นิ่วชนิดอื่น

tips-health

ภาวะไขมันในเลือดสูง (Hyperlipidemia)

ลักษณะของภาวะไขมันในเลือดสูง โคเลสเตอรอล (Cholesterol) และ ไตรกลีเซอไรด์ (Triglycerides) ในเลือดสูงเกินมาตรฐาน เมื่อสะสมเป็นเวลานาน อาจทำให้เกิด: ความดันโลหิตสูง อาการวิงเวียนศีรษะ, ปวดหัวบ่อย โรคหลอดเลือดหัวใจและสมองตีบ ภาวะ อัมพฤกษ์ หรือ อัมพาต สาเหตุของไขมันในเลือดสูง พันธุกรรม: ภาวะไขมันสูงที่ถ่ายทอดจากครอบครัว

tips-health

โรคเก๊าท์ กรดยูริกในเลือดเกิน 7 มก./ดล.

สาเหตุและการสะสมของกรดยูริก กรดยูริกในเลือดสูงกว่า 7 มก./ดล. สะสมเป็นเวลานาน ทำให้ กรดยูริกตกตะกอน ในข้อและเนื้อเยื่อ ส่งผลให้เกิด การอักเสบ, บวม, และแดง อาหารที่เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคเก๊าท์ อาหารกลุ่มพิวรีนสูง: ยอดผัก สัตว์ปีก เนื้อแดง (หมู, วัว, ควาย)

tips-health

ไทรอยด์เป็นพิษ ภัยเงียบที่ทำลายร่างกายทั้งระบบ

ชนิดของไทรอยด์เป็นพิษ ไฮเปอร์ไทรอยด์ (Hyperthyroidism) ลักษณะอาการ: น้ำหนักลดลง ขี้ร้อน, เหงื่อออกมาก เหนื่อยง่าย, ขาดสมาธิ, ความจำไม่ดี มีประจำเดือนน้อยลง ผมร่วง, มือสั่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ ตาโปน, ต่อมไทรอยด์โต ท้องเสีย ไฮโปไทรอยด์ (Hypothyroidism) ลักษณะอาการ:

tips-health

สัญญาณเตือน โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดแบบเฉียบพลัน และแบบเรื้อรัง

สัญญาณเตือนโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 1. โรคหัวใจขาดเลือดแบบเรื้อรัง อาการ: แน่นหน้าอก โดยเฉพาะขณะออกแรง เวลาเดินไกลหรือขึ้นบันได อาการจะรุนแรงขึ้น ลักษณะการเกิด: เกิดขึ้นเรื่อยๆ และค่อยๆ มีอาการรุนแรงมากขึ้น 2. โรคหัวใจขาดเลือดแบบเฉียบพลัน อาการ: เจ็บแน่นหน้าอกอย่างรุนแรง เหงื่อออกทั่วร่างกาย วูบ หมดสติ หัวใจหยุดเต้น

tips-health

LDL ไขมัน คอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี LDL ต้องไม่ถึง 100 มก.%

LDL ไขมัน คอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี LDL ต้องไม่ถึง 100 มก.% ไขมันส่วนเกิน จะถูกเม็ดเลือดขาวกลืนกินและก่อตัวเป็นเซลล์โฟมที่มีไขมัน เกาะติดที่ผนังเส้นเลือด สาเหตุของ“โรคหลอดเลือดแดงแข็ง”(atherosclerosis) ทดแทนด้วยอาหาร ไขมันไม่อิ่มตัว • ถั่ว • เมล็ดธัญพืช • น้ำมันพืช ลดอาหารไขมันอิ่มตัวสูง

tips-health

โซเดียมไม่ได้อยู่แค่ในอาหารรสเค็ม?

⚠️โซเดียมไม่ได้อยู่แค่ในอาหารรสเค็ม ⚠️ 👩‍⚕️ คนปกติสามารถควบคุมน้ำและเกลือแร่ได้ตามปกติ แต่สำหรับ ผู้ป่วยไต 🏥 ไตไม่สามารถทำงานได้เต็มที่ ไม่สามารถควบคุมน้ำและเกลือแร่ได้ดี จึงต้องพยายามงดเครื่องปรุง เช่น เกลือ 🧂 น้ำปลา 🐟 . ❗ แต่จริงๆ แล้ว ไตทำงานหนักเพราะโซเดียม!

tips-health

ค่ายูริก Uric acid ต้องไม่ถึง 7 มก.% จริงหรือไม่

ระดับกรดยูริคที่ปลอดภัย ปกติ: <7 มก.% ภาวะกรดยูริคในเลือดสูง: ≥7 มก.% เสี่ยงสูงต่ออาการเกาต์: ≥9 มก.% อาการที่อาจเกิดจากกรดยูริคสูง ตกผลึกในข้อ: กระตุ้นอาการ ปวด บวม แดง ร้อน เกาต์เฉียบพลัน: มักเกิดที่ข้อหัวแม่เท้า นิ่วในไต:

tips-health

ความดันโลหิต ต้องไม่ถึง 120/80 มม.ปรอท หรือไม่

อันตรายจากความดันโลหิตสูง แรงดันเลือดสูง: ทำให้ ผนังหลอดเลือดปริแตก การซ่อมแซมหลอดเลือด: ไขมัน และ ผลึกแคลเซียม สะสมเพื่อปิดรอยแตก หลอดเลือดตีบแข็ง เพิ่มแรงต้านการไหลเวียนของเลือด ผลกระทบระยะยาว: ความดันโลหิตสูงเรื้อรังนำไปสู่ หัวใจล้มเหลว เพิ่มความเสี่ยงของ โรคหลอดเลือดสมอง (สโตรค) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความดันโลหิต ความเครียด: ทำให้หลอดเลือดตึงตัว

Shopping Cart