Author name: admin

Health-articles

EP.166 – โรคไตอาการ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน เกิดจากอะไร

อาการเบื่ออาหารและคลื่นไส้ในผู้ป่วยโรคไต เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน เกิดจาก การทำงานของไตที่เสื่อมลง ทำให้การกำจัดของเสีย, น้ำ และแร่ธาตุในร่างกายลดลง ของเสียคั่งในเลือด ส่งผลกระทบต่อระบบประสาทและสมอง ทำให้ การรับรส และ กลิ่น เปลี่ยนไป เช่น รู้สึกว่ารสชาติอาหารคล้ายโลหะ น้ำหนักลดลง อาการเบื่ออาหารและคลื่นไส้อย่างต่อเนื่อง […]

tips-health

5 ระยะของโรคไตเรื้อรัง พร้อมแนวทางดูแล

⚠️” รู้ทัน! โรคไตเรื้อรัง 5 ระยะ” ⚠️ โรคไตเรื้อรัง เป็นภัยเงียบที่ค่อย ๆ ทำลายการทำงานของไต หากปล่อยไว้โดยไม่ดูแล อาจนำไปสู่ภาวะไตวายระยะสุดท้ายได้!มารู้จัก 5 ระยะของโรคไต และแนวทางดูแลเพื่อชะลอการเสื่อมของไตกันค่ะ.🔹 ระยะที่ 1 (eGFR ≥ 90)

tips-health

5 อาการโรคไตที่พบได้บ่อย

⚠️ สัญญาณเตือนอันตรายของโรคไต ⚠️ ไตเป็นอวัยวะที่เมื่อเกิดความผิดปกติแล้ว อาการจะแสดงออกในระยะท้ายๆ ซึ่งอาจรุนแรงถึงชีวิตได้ 😱 . อาการที่เกิดขึ้นเมื่อมีความเสี่ยงเป็นโรคไต ✅ อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ✅ ปัสสาวะสีหรือกลิ่นผิดปกติ ✅ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ✅ ลุกมาฉี่บ่อยตอนกลางคืน

tips-health

ดื่มน้ำเปล่า ช่วยบำรุงไตจริงหรือ

ดูแลสุขภาพไตง่ายๆ ด้วยการดื่มน้ำให้เพียงพอ พร้อมฟื้นฟูไตด้วย Gel Plus UMI 💧 การดื่มน้ำช่วยลดความเสี่ยงโรคไตได้จริง!เพียงคุณดื่มน้ำเปล่าในปริมาณที่เหมาะสม ก็สามารถช่วยลดภาระการทำงานของไตและช่วยให้ไตขับของเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ ✅ ปริมาณน้ำที่เหมาะสม คนทั่วไปหรือไม่มีอาการบวม: 2-3 ลิตร/วัน ควรจิบระหว่างวัน ผู้ป่วยโรคไตที่มีอาการบวม: ตวงปัสสาวะทั้งวัน เพิ่ม 500 มิลลิลิตร

tips-health

โรคไต เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน เกิดจากอะไร

เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน อาการที่อาจบ่งบอกถึงโรคไต! ในผู้ป่วย โรคไต อาการ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ และอาเจียน มักเกิดจากการที่ไตเสื่อมจนไม่สามารถกำจัดของเสีย น้ำ และแร่ธาตุออกจากร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ของเสียสะสมในกระแสเลือดและส่งผลกระทบต่อร่างกายในหลายด้าน 💡 สาเหตุที่ทำให้เกิดอาการเหล่านี้ ของเสียสะสมในกระแสเลือด ส่งผลให้รบกวนระบบประสาทและสมอง การรับรสและกลิ่นเปลี่ยนไป บางคนรู้สึกว่าอาหารมีรสชาติคล้ายโลหะ

tips-health

โรคไต ปัสสาวะกลางคืนบ่อย เกิดจากอะไร

ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน สัญญาณเตือนที่ไม่ควรมองข้าม ปกติร่างกายของเราจะสามารถกักเก็บน้ำปัสสาวะระหว่างการนอนหลับได้โดยไม่ต้องลุกขึ้นมาปัสสาวะ แต่หากคุณต้องตื่นขึ้นมาเข้าห้องน้ำหลายครั้งในตอนกลางคืน อาจเป็นสัญญาณของ โรคไต หรือภาวะสุขภาพอื่น ๆ ที่ควรตรวจสอบ 💡 ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน เกิดจากอะไร? ไตเริ่มเสื่อม: ไตไม่สามารถกักเก็บน้ำปัสสาวะได้ดีเหมือนเดิม ปริมาณน้ำปัสสาวะเพิ่มขึ้น: ไตลดความสามารถในการทำให้น้ำปัสสาวะเข้มข้น อาจเกิดจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง 💡 อาการที่ต้องสังเกต ต้องลุกขึ้นมาปัสสาวะกลางดึก

tips-health

โรคไต ปัสสาวะเป็นฟอง มีลักษณะอย่างไร

ปัสสาวะเป็นฟอง! สัญญาณเตือนไตผิดปกติที่ไม่ควรมองข้าม อาการ ปัสสาวะเป็นฟอง อาจดูเหมือนไม่อันตราย แต่ความจริงแล้วมันอาจบ่งบอกถึง ภาวะโปรตีนรั่วในปัสสาวะ ซึ่งเป็นสัญญาณเตือนว่าไตกำลังทำงานผิดปกติ! 💡 ฟองปัสสาวะแบบไหนที่ควรสังเกต? จากสาเหตุทั่วไป: ฟองขนาดใหญ่ ชั้นเดียว เกิดจากปัสสาวะพุ่งแรง และฟองหายไปในไม่กี่วินาที จากโรคไต: ฟองขนาดเล็ก-ใหญ่ เรียงตัวเป็นชั้น ๆ ฟองไม่กระจายหรือหายไปใน

tips-health

โรคไต อาการปวดหลังเป็นแบบไหน

ปวดหลังบอกโรค! ดูแลสุขภาพไตของคุณก่อนสายเกินไป อาการปวดหลังเกิดได้กับทุกคน แต่รู้หรือไม่ว่าปวดหลังบางจุดอาจเป็นสัญญาณเตือนของ โรคไต ซึ่งหากปล่อยไว้ อาจนำไปสู่ภาวะไตวายหรือจำเป็นต้องฟอกไต! 💡 ตำแหน่งปวดหลังที่ควรสงสัยโรคไต ปวดบริเวณกลางหลัง ใกล้ชายโครงหรือบั้นเอว (ไม่ใช่บั้นเอวด้านล่าง) ปวดเฉียบพลัน รุนแรง อาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้าง 💡 อาการร่วมที่บ่งชี้โรคไต ปัสสาวะเป็นเลือด หรือมีสีผิดปกติ ปัสสาวะเป็นฟอง

Health-articles

EP.165 – 5 อาการโรคตับ ดื่มไม่หนักก็เสี่ยงได้

โรคตับเกิดได้จากอะไรบ้าง? โรคตับไม่จำเป็นต้องเกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์หนักเพียงอย่างเดียว แต่ยังมีปัจจัยอื่นๆ เช่น: การได้รับสารพิษหรือสารเคมีในปริมาณมาก การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ความผิดปกติของกระบวนการเมตาบอลิซึม พันธุกรรม ภูมิคุ้มกันทำลายเนื้อตับตัวเอง ตับสำคัญต่อร่างกายอย่างไร? กรองสารพิษ ผลิตโปรตีนและน้ำดี เก็บสะสมวิตามินและแร่ธาตุ หากตับทำงานผิดปกติ สุขภาพโดยรวมจะได้รับผลกระทบอย่างแน่นอน 5 อาการที่อาจบ่งชี้ว่าเสี่ยงโรคตับ อ่อนเพลีย ไม่มีแรงการกรองสารพิษในเลือดลดลง อาจเกิดการสะสมของสารพิษ

Health-articles

EP.164 – พลิกความเชื่อ ทำไมโปรตีนจึงสำคัญกับผู้ป่วยมะเร็ง

ความเชื่อที่ว่า ผู้ป่วยมะเร็งควรงดทานเนื้อสัตว์ เนื่องจากกลัวว่าจะทำให้มะเร็งลุกลามนั้น อาจจะไม่ถูกต้อง แท้จริงแล้วโปรตีนจากเนื้อสัตว์จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง เพื่อช่วยฟื้นฟูร่างกายระหว่างการรักษา เช่น การทำเคมีบำบัดหรือฉายแสง เหตุผลที่โปรตีนจำเป็นสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง: ช่วยซ่อมแซมเซลล์ที่เสียหายจากการรักษา เสริมสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาว, เม็ดเลือดแดง, และเกล็ดเลือด ลดความเสี่ยงที่ค่าเลือดไม่ผ่านเกณฑ์ ซึ่งอาจทำให้การรักษาล่าช้า ปริมาณโปรตีนที่เหมาะสม: ผู้ป่วยควรได้รับโปรตีน 1.2-1.5 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1